(12) “จงทำตัวเองให้ไร้น้ำหนัก ขณะที่อยู่บนเตียงหรือเก้าอี้ แล้วข้ามพ้นไป หรือความคิด”
ขยายความ โดยการฝึกสมาธิในท่านั่งหรือท่ายืน เมื่อฝึกไปถึงขั้นหนึ่ง ผู้ฝึกจะรู้สึกถึงน้ำหนักตัวเองน้อยลงเรื่อยๆ จนกระทั่งไม่รู้สึกถึงน้ำหนักตัวเอง และลืมร่างกายนี้ของตัวเองในที่สุด เมื่อผู้ฝึกเริ่มรู้สึกไร้น้ำหนักหรือไร้ร่าง ภาวะที่ข้ามพ้นใจหรือความคิดจะเกิดขึ้นอย่างเป็นไปเอง วิธีการผ่อนคลายแบบที่สามของตันตระ ทำได้โดยการฝึกเช่นข้างต้น
บล๊อกน้ำสำหรับเก็บรวบรวมบทความธรรมะ การปฎิบัติตามทีต่างๆได้พบ ได้เห็น ได้รู้ มาเก็บรวบรวมไว้เผื่อเป้นการบันทึกไว้อ่าน หรือ ทบทวน เป็นการส่วนตัว มิได้มีเจตนาอื่นไดไดเลย นะครับ...ขอบคุณครับ ผู้รวบรวมบทความ - บ.ใบไม้☘🍃☘
วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
เคล็ดการฝึกตันตระทั้ง 112 วิธี วิธีที่12
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
นั่งสมาธิแล้วชา นั่งสมาธิแล้วชา
ถาม นั่งสมาธิแล้วชา ตอบ อันนี้เป็นเรื่องของธรรมดาของกาย ที่นั่งนานๆ ย่อมเกิดความมึนชาขึ้นมา ถ้ารู้สึกเจ็บปวด หรือชาขึ้นมาแล้ว เราหยุดเปลี...
-
#หน่ำเต้าแชกุน (南斗星君) เทพประจำดาวฝ่ายใต้ เป็นเทพที่ลิขิตการเกิดและการมีชีวิต หรือเทพเจ้าแห่งการมีอายุยืนแห่งสวรรค์ทิศใต้ รูปลักษณ์ของท่านจ...
-
มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฎฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฎเฐน ภาสติ วา กโรติวา คโตนํ ทุกฺขมเนวติ จกฺกํว วหโต ปทํ บรรดาธรรมทั้งหลาย ล้วนมีใจเป็นผู้น...
-
โยคะตันตระ แบ่งออกเป็นสองส่วนคือส่วนนอกซึ่งเรียกว่า อุปโยคะตันตระและส่วนใน เรียกว่าอนุตรโยคะตันตระ อุปโยคะตันตระ ถือว่าพิธีกรรมที่ถูกต้องบ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น